วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2563

3.5การสรุปผลและการเผยแพร่ผลงาน

 การนำเสนอและเผยแพร่โครงงาน

1. การนำเสนอโครงงาน 
          การแสดงผลงานจัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสำคัญอีกประการหนึ่งของการทำโครงงานเรียกได้ว่าเป็นงานขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นการแสดงผลิตผลของความคิดและการปฏิบัติการทั้งหมดที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเวลาไป และเป็นวิธีการที่จะทำให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้นๆ มีผู้กล่าวกันว่าการวางแผนออกแบบ เพื่อจัดแสดงผลงานนั้นมีความสำคัญเท่าๆ กับการทำโครงงานนั้นเอง ผลงานที่ทำจะดียอดเยี่ยมเพียงใด แต่ถ้าการจัดแสดงผลงานทำได้ไม่ดีก็เท่ากับไม่ได้แสดงถึงความยอดเยี่ยมของผลงานนั้นเลย 

อ่านเพิ่มเติม

                       4.3.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล - การพัฒนาบทเรียนผ่าน web กลุ่มสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี

3.4การดำเนินงาน

วิธีการดำเนินงาน

        1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทำ โดยทั่วไปเรื่องที่จะมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์มักได้จากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ อ่านเพิ่มเติม
                       1.3) บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน - Nitchakul Sangsikaeo 53/33

3.3การวางแผนและออกแบบโครงงาน

 การวางแผนและออกแบบโครงงาน

หลังจากกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และแนวทางในการพัฒนาโครงงานแล้ว ควรวางแผนการพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนต่างๆ ให้รอบครอบ รัดกุม

1. ศึกษาเอกสาร และศึกษาความเป็นไปได้ของโครงงาน
ขั้นตอนนี้ ควรเริ่มจากการค้นหาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม และศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น

2. กำหนดผลสำเร็จของโครงงาน
เป็นการกำหนดสิ่งที่จะส่งมอบและเวลาในการส่งมอบให้ชัดเจน

3. แบ่งการดำเนินการออกเป็นกิจกรรมย่อย
ในการพัฒนาโครงงานนั้น ต้องแบ่งการทำงานออกเป็นกิจกรรมย่อยให้ชัดเจน เช่น ขั้นวางแผน ขั้นการสำรวจ ขั้นศึกษาเทคนิคที่เกี่ยวข้อง ขั้นพัฒนาโปรแกรม ขั้นการทดสอบและปรับปรุง และ ขั้นจัดทำเอกสาร เป็นต้น

4. กำหนดขั้นตอนก่อนหลังของแต่ละกิจกรรม
เป็นการนำขั้นตอนต่างๆ ในข้อที่ มาจัดลำดับความสำคัญ แล้วเรียงลำดับก่อนหลัง เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย โดยอาจเขียนเป็นแผนภูมิก็ได้ เช่น
                

3.2การศึกษาและกําหนดขอบเขตของปัญหา

 การกำหนดขอบเขตของปัญหา

                 การวิจัยทุกเรื่องจะต้องมีขอบเขตของการศึกษา เพื่อให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องผู้วิจัยไม่สามารถทำการวิจัยได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น ด้วยเหตุนี้เมื่อได้ปัญหาที่จะทำการวิจัยแน่นอนแล้ว ผู้วิจัยจะต้องกำหนดขอบเขตของการศึกษาให้ชัดเจนว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง  โดยการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของปัญหาการวิจัยว่าจะศึกษาในเรื่องใด ศึกษากับใคร และศึกษาแง่มุมใด ทั้งนี้เพื่อตีกรอบความคิดของผู้วิจัยและผู้อ่านให้อยู่ในวงที่จำกัดไว้อ่านเพิ่มเติม

                          à¸à¸²à¸£à¸§à¸´à¹€à¸„ราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ

3.1การกําหนดปัญหา

 ระยะที่ 1 การกำหนดปัญหา

นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาปัญหา ข้อเท็จจริงที่แท้จริง ซึ่งหากปัญหาที่ค้นพบ มิใช่ปัญหาที่แท้จริง ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใช้งานไม่ครบถ้วน อ่านเพิ่มเติม

               à¸à¸²à¸£à¸à¸³à¸«à¸™à¸”ปัญหา - ครูไอที

2.5การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล

การจัดข้อมูลที่ได้กล่าวมาเเล้วว่า  คืองานที่กระทำกับข้อมูลอย่างเป็นขั้นตอน โดยมีกิจกรรมคือการเก็บรวงรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การทำรายงานการนำไปใชตลอดการจัดเก็บ  ใบบทที่กล่าวมาถึง ขั้นตอนเเรกเเล้วในบทนี้จะกล่าวถึงการประมวลผลในการจัดการข้อมูล าส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องการเรียงลำดับข้อมูลการค้นหาข้อมูเเละการคำนวณ 

อ่านเพิ่มเติม

                 Data structure: การจัดเรียงข้อมูล Sorting

2.4การทําซ้ำ

 การทำงานแบบทำซ้ำ

            ลักษณะ ของขั้นตอนวิธีการทำงาน นอกจากขั้นตอนวิธีการทำงานแบบลำดับแลละขั้นตอนวิธีแบบเลือกทำแล้ว ยังมีลักษณะการทำงานของขั้นตอนวิธีอีกลักษณะหนึ่ง คือ ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบทำซ้ำ ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบทำซ้ำใช้สำหรับกรณีที่ต้องการทำกระบวนการต่าง ๆ ซ้ำกันหลายครั้ง โดยมีการตรวจสอบเงื่อนไขสำหรับการตัดสินใจ เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนของการทำซ้ำ หรือออกจากขั้นตอนของการทำซ้ำ การเขียนขั้นตอนวิธีสำหรับการทำงานแบบทำซ้ำ ได้รับการพัฒนามาจากโครงสร้างผังงานการทำซ้ำ อ่านเพิ่มเติม